ให้นักเรียนชอ.2/1 แสดงความคิดเห็น
เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่สามารถทำหน้าที่ ขยายสัญญาณไฟฟ้า เปิด/ปิดสัญญาณไฟฟ้า คงค่าแรงดันไฟฟ้า หรือกล้ำสัญญาณไฟฟ้า (modulate) เป็นต้น การทำงานของทราสซิสเตอร์เปรียบได้กับวาล์วที่ถูกควบคุมด้วยสัญญาณไฟฟ้าขาเข้า เพื่อปรับขนาดกระแสไฟฟ้าขาออกที่มาจากแหล่งจ่ายแรงดันhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
หลอดสุญญากาศ หรือ หลอดอิเล็กตรอน ในทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึงอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการขยายสัญญาณหรือทำหน้าที่เป็นสวิตช์ เพื่อสร้างสัญญาณทางไฟฟ้าขึ้นจากการควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนผ่านบริเวณที่มีอากาศ หรือก๊าซเบาบางhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ไร ???
Transistor (ทรานซิสเตอร์) ประดิษฐ์โดยนักวิทยาศาสตร์ 3 คน ใน Bell Laboratories ในปี 1947 ได้เข้าแทนที่ หลอดสูญญากาศในฐานะ ตัวควบคุมสัญญาณอิเลคโทนิกส์ ทรานซิสเตอร์ควบคุมกระแส หรือความต่างศักย์และทำหน้าที่เหมือน สวิท์ชหรือ gate สำหรับสัญญาณอีเลคโทนิคส์ ทรานซิสเตอร์ประกอบด้วย 3 ชั้น ของวัตถุกึ่งตัวนำ แต่ละชั้นสามารถนำกระแสไฟฟ้า สารกึ่งตัวนำเป็นวัสดุ เช่น เยอรมันเนียม และซิลิคอน ที่การนำไฟฟ้าเป็นแบบ "semi-enthusiastic" ซึ่งมีลักษณะระหว่างตัวนำแท้ เช่น ทองแดง กับฉนวน เช่น พลาสติกhttp://www.com5dow.com/%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B9%8C-it/1816-transistor-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html
วัสดุกึ่งตัวนำมีคุณสมบัติพิเศษ โดยกระบวนการทางเคมีเรียกว่า doping โดยผลลัพธ์ของ doping ในวัสดุที่เป็น ทั้งการเพิ่มอิเล็กตรอนพิเศษให้กับวัสดุ (ซึ่งเรียกว่า N-type สำหรับการเพิ่มประจุลบให้ตัวนำ) หรือ สร้าง "โพรง" ในวัสดุโครงสร้างผนึก (ซึ่งเรียกว่า p-type เพราะมีผลเป็นการเพิ่มประจุบวกให้ตัวนำ) ทรานซิสเตอร์โครงสร้าง 3 ชั้น ประกอบด้วย ชั้นวัสดุกึ่งตัวนำ N-type อยู่ระหว่าง ชั้น P-type (PNP) หรือ ชั้น P-type 1 ชั้น อยู่ระหว่างชั้น N-type (NPN)เมื่อกระแสหรือความต่างศักย์เปลี่ยนใน 1 ชั้นของชั้นนอกวัสดุกึ่งตัวนำ จะมีผลกระทบต่อกระแส หรือความต่างศักย์อย่างมากกับชั้นใน 1 ชั้น มีผลในการเปิดหรือปิด gate ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ ใช้วงจรทำด้วยเทคโนโลยี Complementary Metal Oxide Semiconductor (CMOS) ซึ่ง COMS ใช้ทรานซิสเตอร์คู่ต่อ gate (ตัวหนึ่งคือ N-type อีกตัวหนึ่งคือ p-type) เมื่อทรานซิสเตอร์ตัวหนึ่งดำรงสถานะทางตรรกะจะมีความต้องการทั้งหมดไม่มีพลังงานทรานซิสเตอร์เป็นส่วนประกอบพื้นฐานในวงจรรวม (Integrated Circuit หรือ IC) ซึ่งประกอบด้วยทรานซิสเตอร์จำนวนมาก ที่ต่อเชื่อมภายในเป็นวงจร และเป็นไมโครชิป หรือชิป ชิ้นเดียวที่มา widebase.net
การประยุกต์ใช้ทรานซิสเตอร์ ทรานซิสเตอร์เนื่องจากทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผลิตจากสารกึ่งตัวนำ จึงมีหลักการทำงานที่คล้ายกับไดโอดแต่ทรานซิสเตอร์จะมีความสามารถพิเศษในด้านอื่น ๆ เพิ่มขึ้นมา เช่น การใช้งานทำหน้าที่ในการขยายสัญญาณ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก สามารถขยายให้ใหญ่ขึ้นได้โดยใช้ทรานซิสเตอร์ทำหน้าที่ ขยายสัญญาณให้ใหญ่ขึ้น เช่น เครื่องขยายเสียง เครื่องส่งวิทยุ เป็นต้น
หลอดสุญญากาศ (อังกฤษ: vacuum tube) หรือ หลอดอิเล็กตรอน (electron tube : ในอเมริกา) หรือ วาล์วเทอร์มิออนิค (thermionic valve : ในอังกฤษ) ในทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึงอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการขยายสัญญาณหรือทำหน้าที่เป็นสวิตช์ เพื่อสร้างสัญญาณทางไฟฟ้าขึ้นจากการควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนผ่านบริเวณที่มีอากาศ หรือก๊าซเบาบาง ปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายการนำไฟฟ้าก็คือ ปรากฏการณ์เทอร์มิออนิค อิมิตชัน (thermionic emission) ซึ่งอธิบายว่าเมื่อโลหะถูกทำให้ร้อนจนถึงระดับหนึ่งด้วยการป้อนกระแสไฟฟ้าจะทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกมาที่ผิวของโลหะ เมื่อทำการป้อนศักย์ไฟฟ้าเพื่อดึงดูดอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาอยู่ที่ผิวด้วยขั้วโลหะอีกขั้วหนึ่งที่อยู่ข้างๆ จะทำให้เกิดการไหลของกระแสได้ เราเรียกหลอดสุญญากาศที่มีขั้วโลหะเพียงสองขั้วนี้ว่า หลอดไดโอด (Diode) โดยขั้วที่ให้อิเล็กตรอนเรียกว่า คาโธด (Cathode) และขั้วที่รับอิเล็กตรอนเรียกว่า อาโนด (Anode) การไหลของกระแสไฟฟ้าของหลอดไดโอดเป็นแบบไม่เป็นเชิงเส้น (Non-linear current) กล่าวคือ เมื่อป้อนศักย์ไฟฟ้าบวกให้กับขั้วอาโนดและศักย์ไฟฟ้าลบให้กับขั้วคาโธดจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลดังที่ได้อธิบายผ่านมา แต่เมื่อป้อนศักย์ไฟฟ้ากลับทางคือ ป้อนศักย์ไฟฟ้าบวกให้กับคาโธดและป้อนศักย์ไฟฟ้าลบให้กับอาโนดจะทำให้กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ ซึ่งเป็นผลมาจากอิเล็กตรอนถูกผลักด้วยผลของสนามไฟฟ้านั้นเอง ซึ่งคุณสมบัติข้อนี้จึงทำให้สามารถนำหลอดไดโอดไปใช้เป็นอุปกรณ์เรียงกระแส (rectifier) ได้ต่อมาได้มีการพัฒนาหลอดไดโอดโดยใส่ขั้วโลหะตาข่ายระหว่างขั้วอาโนดและขั้วคาโธด เรียกว่า กริด (Grid) ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นส่วนควบคุมปริมาณกระแสให้ไหลมากน้อยได้ตามศักย์ไฟฟ้าที่ป้อนให้กับขั้วกริด อุปกรณ์ที่มีขั้วโลหะ 3 ขั้วนี้เรียกว่า หลอดไตรโอด (Triode) ซึ่งสามารถใช้เป็นอุปกรณ์ขยายสัญญาณได้
+1 ครัพเนื้อหาดีมาก
.....
OH! my god
ให้นักเรียนชอ.2/1 แสดงความคิดเห็น
ตอบลบเป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่สามารถทำหน้าที่ ขยายสัญญาณไฟฟ้า เปิด/ปิดสัญญาณไฟฟ้า คงค่าแรงดันไฟฟ้า หรือกล้ำสัญญาณไฟฟ้า (modulate) เป็นต้น การทำงานของทราสซิสเตอร์เปรียบได้กับวาล์วที่ถูกควบคุมด้วยสัญญาณไฟฟ้าขาเข้า เพื่อปรับขนาดกระแสไฟฟ้าขาออกที่มาจากแหล่งจ่ายแรงดัน
ตอบลบhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
หลอดสุญญากาศ หรือ หลอดอิเล็กตรอน ในทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึงอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการขยายสัญญาณหรือทำหน้าที่เป็นสวิตช์ เพื่อสร้างสัญญาณทางไฟฟ้าขึ้นจากการควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนผ่านบริเวณที่มีอากาศ หรือก๊าซเบาบาง
ตอบลบhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบไร ???
ลบTransistor (ทรานซิสเตอร์) ประดิษฐ์โดยนักวิทยาศาสตร์ 3 คน ใน Bell Laboratories ในปี 1947 ได้เข้าแทนที่ หลอดสูญญากาศในฐานะ ตัวควบคุมสัญญาณอิเลคโทนิกส์ ทรานซิสเตอร์ควบคุมกระแส หรือความต่างศักย์และทำหน้าที่เหมือน สวิท์ชหรือ gate สำหรับสัญญาณอีเลคโทนิคส์ ทรานซิสเตอร์ประกอบด้วย 3 ชั้น ของวัตถุกึ่งตัวนำ แต่ละชั้นสามารถนำกระแสไฟฟ้า สารกึ่งตัวนำเป็นวัสดุ เช่น เยอรมันเนียม และซิลิคอน ที่การนำไฟฟ้าเป็นแบบ "semi-enthusiastic" ซึ่งมีลักษณะระหว่างตัวนำแท้ เช่น ทองแดง กับฉนวน เช่น พลาสติกhttp://www.com5dow.com/%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B9%8C-it/1816-transistor-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html
ตอบลบวัสดุกึ่งตัวนำมีคุณสมบัติพิเศษ โดยกระบวนการทางเคมีเรียกว่า doping โดยผลลัพธ์ของ doping ในวัสดุที่เป็น ทั้งการเพิ่มอิเล็กตรอนพิเศษให้กับวัสดุ (ซึ่งเรียกว่า N-type สำหรับการเพิ่มประจุลบให้ตัวนำ) หรือ สร้าง "โพรง" ในวัสดุโครงสร้างผนึก (ซึ่งเรียกว่า p-type เพราะมีผลเป็นการเพิ่มประจุบวกให้ตัวนำ) ทรานซิสเตอร์โครงสร้าง 3 ชั้น ประกอบด้วย ชั้นวัสดุกึ่งตัวนำ N-type อยู่ระหว่าง ชั้น P-type (PNP) หรือ ชั้น P-type 1 ชั้น อยู่ระหว่างชั้น N-type (NPN)
ตอบลบเมื่อกระแสหรือความต่างศักย์เปลี่ยนใน 1 ชั้นของชั้นนอกวัสดุกึ่งตัวนำ จะมีผลกระทบต่อกระแส หรือความต่างศักย์อย่างมากกับชั้นใน 1 ชั้น มีผลในการเปิดหรือปิด gate ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ ใช้วงจรทำด้วยเทคโนโลยี Complementary Metal Oxide Semiconductor (CMOS) ซึ่ง COMS ใช้ทรานซิสเตอร์คู่ต่อ gate (ตัวหนึ่งคือ N-type อีกตัวหนึ่งคือ p-type) เมื่อทรานซิสเตอร์ตัวหนึ่งดำรงสถานะทางตรรกะจะมีความต้องการทั้งหมดไม่มีพลังงาน
ทรานซิสเตอร์เป็นส่วนประกอบพื้นฐานในวงจรรวม (Integrated Circuit หรือ IC) ซึ่งประกอบด้วยทรานซิสเตอร์จำนวนมาก ที่ต่อเชื่อมภายในเป็นวงจร และเป็นไมโครชิป หรือชิป ชิ้นเดียว
ที่มา widebase.net
การประยุกต์ใช้ทรานซิสเตอร์
ตอบลบทรานซิสเตอร์เนื่องจากทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผลิตจากสารกึ่งตัวนำ จึงมีหลักการทำงานที่คล้ายกับไดโอดแต่ทรานซิสเตอร์จะมีความสามารถพิเศษในด้านอื่น ๆ เพิ่มขึ้นมา เช่น
การใช้งานทำหน้าที่ในการขยายสัญญาณ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก สามารถขยายให้ใหญ่ขึ้นได้โดยใช้ทรานซิสเตอร์ทำหน้าที่ ขยายสัญญาณให้ใหญ่ขึ้น เช่น เครื่องขยายเสียง เครื่องส่งวิทยุ เป็นต้น
หลอดสุญญากาศ (อังกฤษ: vacuum tube) หรือ หลอดอิเล็กตรอน (electron tube : ในอเมริกา) หรือ วาล์วเทอร์มิออนิค (thermionic valve : ในอังกฤษ) ในทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึงอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการขยายสัญญาณหรือทำหน้าที่เป็นสวิตช์ เพื่อสร้างสัญญาณทางไฟฟ้าขึ้นจากการควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนผ่านบริเวณที่มีอากาศ หรือก๊าซเบาบาง ปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายการนำไฟฟ้าก็คือ ปรากฏการณ์เทอร์มิออนิค อิมิตชัน (thermionic emission) ซึ่งอธิบายว่าเมื่อโลหะถูกทำให้ร้อนจนถึงระดับหนึ่งด้วยการป้อนกระแสไฟฟ้าจะทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกมาที่ผิวของโลหะ เมื่อทำการป้อนศักย์ไฟฟ้าเพื่อดึงดูดอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาอยู่ที่ผิวด้วยขั้วโลหะอีกขั้วหนึ่งที่อยู่ข้างๆ จะทำให้เกิดการไหลของกระแสได้ เราเรียกหลอดสุญญากาศที่มีขั้วโลหะเพียงสองขั้วนี้ว่า หลอดไดโอด (Diode) โดยขั้วที่ให้อิเล็กตรอนเรียกว่า คาโธด (Cathode) และขั้วที่รับอิเล็กตรอนเรียกว่า อาโนด (Anode) การไหลของกระแสไฟฟ้าของหลอดไดโอดเป็นแบบไม่เป็นเชิงเส้น (Non-linear current) กล่าวคือ เมื่อป้อนศักย์ไฟฟ้าบวกให้กับขั้วอาโนดและศักย์ไฟฟ้าลบให้กับขั้วคาโธดจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลดังที่ได้อธิบายผ่านมา แต่เมื่อป้อนศักย์ไฟฟ้ากลับทางคือ ป้อนศักย์ไฟฟ้าบวกให้กับคาโธดและป้อนศักย์ไฟฟ้าลบให้กับอาโนดจะทำให้กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ ซึ่งเป็นผลมาจากอิเล็กตรอนถูกผลักด้วยผลของสนามไฟฟ้านั้นเอง ซึ่งคุณสมบัติข้อนี้จึงทำให้สามารถนำหลอดไดโอดไปใช้เป็นอุปกรณ์เรียงกระแส (rectifier) ได้
ตอบลบต่อมาได้มีการพัฒนาหลอดไดโอดโดยใส่ขั้วโลหะตาข่ายระหว่างขั้วอาโนดและขั้วคาโธด เรียกว่า กริด (Grid) ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นส่วนควบคุมปริมาณกระแสให้ไหลมากน้อยได้ตามศักย์ไฟฟ้าที่ป้อนให้กับขั้วกริด อุปกรณ์ที่มีขั้วโลหะ 3 ขั้วนี้เรียกว่า หลอดไตรโอด (Triode) ซึ่งสามารถใช้เป็นอุปกรณ์ขยายสัญญาณได้
+1 ครัพเนื้อหาดีมาก
ตอบลบ.....
ตอบลบOH! my god
ลบ